การบริหารจัดการสถานศึกษาระดับปฐมวัย
การบริหารสถานศึกษา
หมายถึง
ผู้ที่ทำหน้าที่หัวหน้าหรือผู้นำดำเนินงานเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กร
โดยใช้กระบวนการบริหารกลุ่มบุคคล กระบวนการต่างๆ
ในการดำเนินงานของกลุ่มบุคคลให้เปลี่ยนวิธีคิด วิธีทำใหม่ เป็นผู้นำทางความคิด
การแก้ปัญหา การตัดสินใจ การสร้างแรงจูงใจและจัดสรรการใช้ทรัพยากรต่างๆ
ให้เป็นกลุ่มงานที่สัมพันธ์กันอย่างดี
ความสำคัญของการบริหารสถานศึกษา การบริหารสถานศึกษาหรือการบริหารองค์กร สิ่งที่ต้องตระหนักหรือให้ความสำคัญ
คือการบริหารงานบุคคล เพราะบุคคลเป็นทรัพยากรที่มีค่าในองค์กร
ที่สามารถพัฒนาศักยภาพได้ไม่มีที่สิ้นสุด
ซึ่งจะทำให้องค์กรสามารถดำเนินกิจการต่างๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้
ขอบข่ายของการปฏิบัติงานของสถานศึกษาในการบริหารงานบุคคลนั้นมีภาระงานที่สำคัญๆ
ที่สถานศึกษาควรปฏิบัติ ประกอบด้วย
1.
การวางแผนอัตรากำลังและกำหนดตำแหน่ง
โดยมีการวิเคราะห์ภารกิจและประเมินสภาพความต้องการกำลังคน
กับภารกิจของสถานศึกษามีการจัดทำภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
และแจ้งภาระงาน มาตรฐานคุณภาพงาน มาตรฐานวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ
เกณฑ์ประเมินผลงานแก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาก่อนมีการมอบหมายหน้าที่ให้ปฏิบัติงาน
2.
การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง โดยมีการดำเนินการสอบแข่งขัน
สอบคัดเลือกและคัดเลือกในกรณีจำเป็นหรือมีเหตุพิเศษในตำแหน่งครูผู้ช่วย
ครูและบุคลากรทางการศึกษาอื่นในสถานศึกษา
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการสถานศึกษา
ทัศนะดั้งเดิม
(Classical viewpoint)
การบริหารเชิงวิทยาศาสตร
การจัดการเชิงบริหาร
การบริหารแบบราชการ
การบริหารแบบราชการ
ทัศนะเชิงพฤติกรรม (Behavioral viewpoint)
ทฤษฏีพฤติกรรมระยะเริ่มแรก
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
ความเคลื่อนไหวเชิงมนุษยสัมพันธ์
หลักพฤติกรรมศาสตร์
ทัศนะเชิงปริมาณ (Quantitative viewpoint)
การบริหารศาสตร์
การบริหารปฏิบัติการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
ทัศนะร่วมสมัย (Contemporary viewpoint)
ทฤษฏีเชิงระบบ
ทฤษฏีการบริหารตามสถานการณ์
ทัศนะที่เกิดขึ้นใหม่
ประยุกต์
นำทฤษฎีไปใช้ในการเรียนและในการทำงานในอนาคตค่ะ
ประยุกต์
นำทฤษฎีไปใช้ในการเรียนและในการทำงานในอนาคตค่ะ
ประเมินตนเอง ตั้งใจเรียนค่ะแต่อาจมีคุยกับเพื่อนบ้าง
ประเมินเพื่อน เพื่อนตังใจเรียนและตั้งใจจดค่ะ
ประเมินอาจารย์ อ.แต่งตัวเรียบร้อยค่ะและเป็นกันเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น